ข่าวสารและกิจกรรม

ข่าวสารและกิจกรรม จากโครงการ Here to heal

“สุขภาพจิตสามารถเข้าใจได้ด้วยการลดอคติ”

Destigmatization ลดการตีตรา เสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ ———————————————————————– คลิปวิดีโอนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Here to heal โดยคณะจิตวิทยา...

Read More

Here to Heal ให้บริการแชทพูดคุยเกี่ยวกับสุขภาพจิตส่งท้ายปี 2022

เราอยู่ตรงนี้นะ… ส่งท้ายปีไปด้วยกัน Here to Heal ให้บริการแชทพูดคุยกับอาสาสมัครสุขภาพจิต ฟรี โครงการ here...

Read More

Here to Heal Workshop: การเข้าใจเทคนิคภาพยนตร์บำบัดเบื้องต้น

เชิญชวนเข้าร่วม Workshop การเข้าใจเทคนิคภาพยนตร์บำบัดเบื้องต้น รายละเอียดกิจกรรม – การผสมผสานระหว่างทฤษฎีกับ workshop ต่าง ๆ...

Read More

ประมวลภาพบรรยากาศงานเสวนาวิชาการ เรื่อง DESTIGMATIZATION

Here to heal ขอขอบคุณทุก ๆ ท่านที่ให้ความสนใจเข้าร่วมงานการเสวนาวิชาการ DESTIGMATIZATION “ลดการตีตรา เสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ”...

Read More

[PR] การเสวนาวิชาการ เรื่อง DESTIGMATIZATION ลดการตีตรา เสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ

ขอเชิญชวนทุกท่านที่สนใจเข้าร่วมรับฟังการเสวนาวิชาการ เรื่อง DESTIGMATIZATION ลดการตีตรา เสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ วิทยากรผู้ร่วมการเสวนา 1. คุณณิชชารีย์ เป็นเอกชนะศักดิ์...

Read More

สำรวจภาวะใจ และดูแลตนเองภายหลังการรับฟังข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความรุนแรง

ขอแสดงความเสียใจกับครอบครัวผู้สูญเสียและผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้น . พวกเราทุกคนมีส่วนร่วมช่วยเหลือสถานการณ์นี้ได้โดยไม่ส่งภาพหรือข้อความที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงหรือภาพความสูญเสียเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ . Here to heal ชวนทุกท่านสำรวจภาวะใจ และดูแลตนเองภายหลังการรับฟังข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความรุนแรง...

Read More

[PR] Thai Health Watch The Series 2022

นี่เพื่อนเราเป็นอะไรรึป่าวนะ ทำไมดูแปลกไป ไม่พูดไม่จา? จะพูดให้กำลังใจเพื่อนยังไงดีนะ..กลัวคุยด้วยแล้วใจจะพังตาม สงสัยช่วงนี้พ่อทำงานหนักเลยเครียดไม่คุยกับใคร? หลากหลายคำถามที่คนส่วนใหญ่คิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว อาจจะเกิดกับตัวเราหรือคนใกล้ตัวก็ได้ ด้วยวิกฤตปัญหาเศรษฐกิจและสังคมที่ถาโถมมาไม่หยุดหย่อน โครงการ...

Read More

“รู้สึกได้… ไม่เป็นไร”

Workshop ที่จะช่วยพากันสำรวจที่มาและช่วยให้ดูแลอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเข้าใจ . หลายครั้งที่เรามีความรู้สึกบางอย่างที่เราไม่อยากมี และอยากรู้ว่าต้องทำอย่างไรให้รู้สึกดีกว่าเดิม . Here to heal...

Read More

Here to heal Workshop: Internalised Oppression

“Internalised Oppression”การกดขี่ตนเอง. จะทำอย่างไรเมื่อตนเองเริ่มคิดและเชื่อตามการกดขี่ คำเหยียด มุมมองต่างๆ ที่สังคมพร่ำบอก.Here to heal ชวนคุณมาทำความรู้จัก...

Read More

Here to Heal: บริการปรึกษาด้านสุขภาพจิตออนไลน์ผ่านข้อความ

โครงการ Here to heal ให้บริการปรึกษาด้านสุขภาพจิตออนไลน์ผ่านข้อความ โดยอาสาสมัครผู้ให้บริการปรึกษาด้านสุขภาพจิต ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย ไม่ว่าคุณจะรู้สึก...

Read More

ปรับเปลี่ยนช่องทางการให้บริการการปรึกษาด้านสุขภาพจิตของโครงการ Here to Heal

การปรึกษาด้านสุขภาพจิตของโครงการ Here to Heal ได้ปรับเปลี่ยนช่องทางการให้บริการจาก Line เป็นผ่านทางเว็บไซต์ www.heretohealproject.com เริ่มตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป!...

Read More

น้องคนไหนไม่ไหว มาตรงนี้ได้เสมอ

ช่วงนี้น้องๆ คนไหนที่กำลังเครียด เศร้า ท้อใจ หรือกำลังผิดหวังกับการสอบอยากให้รู้ว่าพวกเราพร้อมซัพพอร์ต และเป็นกำลังใจให้น้องๆ ทุกคนหรือหากน้องคนไหนอยากพูดคุย อยากระบาย หรืออยากปรึกษาเรื่องอื่นๆ...

Read More

ความสำคัญของการยอมรับอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง

จากประสบการณ์ในการให้บริการการปรึกษา พบว่าหลายครั้งผู้มารับบริการการปรึกษามักจะไม่ยอมรับหรือไม่อยากที่จะมีอารมณ์ความรู้สึกในแง่ลบโดยเฉพาะหากเป็นอารมณ์ที่สังคมจะตัดสินว่าเราเป็นคนไม่ดีหรืออ่อนแอ เช่น อารมณ์โกรธ เคียดแค้น อิจฉา น้อยใจ เป็นต้น เรามักจะปฏิเสธอย่างรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว...

Read More

Here to heal Workshop: Reverse Culture Shock

“Reverse Culture Shock”ความตื่นตระหนกทางวัฒนธรรมเมื่อกลับสู่ถิ่นฐานเดิม. รู้สึกแปลกแยก เบื่อ คิดถึงที่ที่จากมา ไม่คุ้นชินกลับบ้านเกิด เกิดอะไรขึ้นกับเราเมื่อกลับประเทศมา .Here...

Read More

Here to heal Workshop: Gratitude

“Gratitude”ชวนมาขอบคุณ ให้อบอุ่นหัวใจ .Here to heal ชวนคุณมาสร้างความสุขและพัฒนาความสัมพันธ์ผ่านความรู้สึกซาบซึ้งขอบคุณกับ Online Workshop ฟรี...

Read More

Here to heal Workshop: Resilience

“Resilience”รดน้ำภายใน ฟื้นใจ เติมพลัง.Here to heal ชวนคุณมาเรียนรู้การฟื้นคืนพลัง พร้อมลุกขึ้นอีกครั้งในวันที่ใจหมดแรง กับ Online...

Read More

Here to heal Workshop: Empathy

“Empathy”หัวใจความสัมพันธ์ ในการอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจ.Here to heal ชวนคุณมาเข้าใจหัวใจของความสัมพันธ์ และการอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจกับ Online Workshop ฟรี...

Read More

Here to Heal

คือ โครงการจัดทำขึ้นเพื่อสื่อสารความรู้ความเข้าใจที่ เกี่ยวกับสุขภาพจิตและการดูแลสุขภาพใจในชีวิตประจำวัน และให้บริการการพูดคุยปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตโดยนักจิตวิทยาการปรึกษาที่มีประสบการณ์ ผ่านการพิมพ์ข้อความออนไลน์ (Chat text) โดย คณะจิตวิทยา...

Read More

6 วิธี จัดการความเครียดจากการเรียนและการสอบช่วงโควิด

เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาด Covid-19 ที่ไม่แน่นอน อาจส่งผลให้นักเรียน นักศึกษาเกิดความรู้สึกกระวนกระวายใจ กังวลเกี่ยวกับการเรียนและการสอบ กลัวเรียนไม่เข้าใจ ประสบความยากลำบากในการทำรายงานโดยเฉพาะงานกลุ่ม และทำข้อสอบได้ไม่ดีเท่าที่ตั้งใจ...

Read More

รวม 7 บริการฟรี ดีต่อใจ

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบเราทุกคนมาเป็นระยะเวลานาน อาจสร้างความรู้สึกวิตกกังวล รวมถึงความเครียดสะสม การเก็บความรู้สึกไม่สบายใจไว้อาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดีต่อสุขภาพจิตของเราเท่าไรนัก Here to heal จึงได้รวบรวม...

Read More

เข้าใจความเครียดของนักเรียนในยุคโควิดและเราจะดูแลจิตใจตนเองกันอย่างไรดี ?

“แค่เปลี่ยนรูปแบบการเรียนจากการเรียนในห้อง เป็นการเรียนผ่านสื่ออื่น ๆ ไม่เห็นจะเป็นปัญหาอะไรเลย” คนที่มีความคิดแบบนี้อาจจะยังไม่เข้าใจถึงผลกระทบในด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงหรือตนเองอาจจะอยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับผลกระทบใด ๆ จากความได้เปรียบทางสังคมที่มีมากกว่าคนอื่น...

Read More

เปิดให้บริการปรึกษาเชิงจิตวิทยา (โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย) สำหรับผู้ป่วยที่ทำ Home isolation, บุคลากรทางการแพทย์ และผู้ที่ได้รับผลกระทบจิตใจจากสถานการณ์ Covid-19

ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง– โครงการพัฒนาระบบบริการปรึกษาด้านสุขภาพจิตออนไลน์ และเครือข่ายส่งต่อบริการสุขภาพจิต โดยคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายใต้สนับสนุนจากสสส. (Here to Heal)–...

Read More

แหล่งบริการทางจิตวิทยา

ฐานข้อมูลแหล่งบริการทางจิตวิทยา สามารถค้นหาเพิ่มเติมได้ที่นี่

โรงพยาบาลกรุงเทพ สมุย
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่
โรงพยาบาลสงขลา
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ป่วยจิตเวช
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่
โรงพยาบาลตรัง
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป และผู้ปัญหายาเสพติด
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่ผู้มีปัญหายาเสพติด
โรงพยาบาลทุ่งสง
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป เด็กและวัยรุ่น
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่เด็กและวัยรุ่น
สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นภาคใต้
  • กลุ่มเป้าหมาย
    เด็กและวัยรุ่น
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า และ Hotline
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชเด็กและวัยรุ่นพัฒนาการเด็ก
โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่
โรงพยาบาลปัตตานี
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่
โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ป่วยจิตเวช ประชาชนทั่วไป เด็กและวัยรุ่น
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่เด็กและวัยรุ่น ผู้มีปัญหาติดเหล้า-บุหรี่ ยาเสพติด และผู้มีปัญหาซึมเศร้า
โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป เด็กและวัยรุ่น
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่เด็กและวัยรุ่น ผู้มีปัญหาติดเหล้า-บุหรี่ ยาเสพติด
โรงพยาบาลธัญญารักษ์ สงขลา
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ติดยาและสารเสพติด
  • รูปแบบการให้บริการ
    ศูนย์บำบัด/พบหน้าและ Hotline
  • ประเด็นการให้บริการ
    รักษาฟื้นฟูผู้ป่วยเสพยาและสารเสพติด
โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ปัตตานี
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ผู้ติดยาและสารเสพติด
  • รูปแบบการให้บริการ
    ศูนย์บำบัด/พบหน้าและ Hotline
  • ประเด็นการให้บริการ
    รักษาฟื้นฟูผู้ป่วยเสพยาและสารเสพติด
โรงพยาบาลพัทลุง
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่ผู้มีปัญหาเหล้า-บุหรี่ ยาเสพติด
โรงพยาบาลท่าศาลา
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่ผู้มีปัญหายาเสพติด ซึมเศร้า
โรงพยาบาลตะกั่วป่า
  • กลุ่มเป้าหมาย
    ประชาชนทั่วไป
  • รูปแบบการให้บริการ
    คลินิกจิตเวช/พบหน้า
  • ประเด็นการให้บริการ
    จิตเวชผู้ใหญ่ผู้มีปัญหายาเสพติด

FAQs

คำถามที่พบบ่อย

รูปแบบการให้บริการเป็นแบบไหน

เป็นการพิมพ์ (แชท) พูดคุยกับนักจิตวิทยาในประเด็นปัญหาที่เครียด กวนใจ ไม่มีความสุข เพื่อทดลองการรับบริการกับนักจิตในเบื้องต้น ระยะเวลาไม่เกิน 60 นาที โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย การให้บริการนี้เน้นการเป็นพื้นที่ปลอดภัย รักษาความลับ และรับฟังอย่างไม่ตัดสิน จึงไม่ใช่พื้นที่บริการที่ให้การเยียวยา บำบัด รักษา หรือวินิจฉัยโรค

โดยหากพูดคุยกับนักจิตแล้วสนใจอยากเข้าสู่กระบวนการพูดคุยแบบเต็มรูปแบบและต่อเนื่อง สามารถค้นหาแหล่งบริการสุขภาพจิตทั้งภาครัฐและเอกชนใกล้บ้านได้ผ่านทางเว็บไซต์ Here to heal เพื่อขอนัดรับบริการกับนักจิตวิทยาเต็มรูปแบบการให้บริการ (พูดคุยแบบเจอตัวหรือวีดิโอคอลแบบเห็นหน้า)

ใครคือนักจิตวิทยาผู้ให้บริการที่พิมแชทกับเรา หรือ อยากเป็นอาสาสมัครผู้ให้บริการกับเราต้องมีคุณสมบัติอย่างไร

เป็นอาสาสมัครที่สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรจิตวิทยาการปรึกษาหรือจิตวิทยาคลินิกในระดับปริญญาตรีหรือระดับปริญญาโท หรือกำลังศึกษาอยู่ในหลักสูตรจิตวิทยาการปรึกษาหรือจิตวิทยาคลินิก ที่มีประสบการณ์การให้คำปรึกษาภายใต้การดูแลของอาจารย์นิเทศก์ จากมหาวิทยาลัยที่ได้รับการรับรอง

ใครสามารถใช้บริการได้บ้าง

ทุกเพศ ทุกวัย ที่มีความพร้อมในการพิมและอ่านภาษาไทยผ่านระบบแชทของเว็บไซต์ได้ โดยไม่จำกัดประเทศ

สิ่งที่พิมในแชทจะเป็นความลับหรือไม่

เป็นความลับ ไม่มีการเผยแพร่ให้กับบุคคลหรือองค์กรใดในรูปแบบที่จะถูกระบุตัวตนได้ โดยผู้รับบริการสามารถใช้นามแฝงในการใช้บริการได้ โดยลงทะเบียนผ่านอีเมล

มีบริการอื่น ๆ ที่ไม่ใช่แชทหรือไม่

ในการพูดคุยกับนักจิตวิทยามีเพียงรูปแบบเป็นการพิมพ์ (แชท) เท่านั้น และมีกิจกรรม workshop หัวข้อในการพัฒนาสุขภาพจิต และการเข้าใจตนเอง ฟรีไม่เสียค่าใช้จ่ายเช่นกัน

คุยได้ทันทีเลยหรือไม่

เมื่อลงทะเบียนผ่านแอดมินแล้ว หากมีอาสาสมัครนักจิตวิทยาที่มีคิวว่างอยู่ก็สามารถเริ่มการพูดคุยได้ทันที

จองคิวล่วงหน้าได้หรือไม่

ไม่มีระบบการจองคิวล่วงหน้า ท่านสามารถทักสอบถามแอดมินว่ามีคิวอาสาสมัครนักจิตวิทยาที่ว่างให้บริการได้ในระยะเวลา 10.00-20.30 โดยมีเวลาพูดคุยถึง 22.00 .

โครงการจะมีต่อเนื่องตลอดไปหรือไม่

โครงการนี้เป็นโครงการนำร่องโดยมีระยะเวลาในการดำเนินการ 2 ปี

จะขอคุยกับนักจิตวิทยาคนเดิมได้หรือไม่

ไม่มีระบบจองคิวกับนักจิตวิทยาคนเดิม เนื่องจากอาสาสมัครนักจิตวิทยานั้นเข้าประจำการทำงานตามเวลาที่พร้อมทำงานอาสา ซึ่งไม่ได้เป็นประจำหรือเหมือนเดิมทุกสัปดาห์

หากจะขอนำโครงการไปประชาสัมพันธ์ต่อต้องติดต่อที่ใด

Line Official Account ของโครงการ พร้อมทั้งส่งข้อมูลองค์มาได้ที่อีเมล heretohealproject@gmail.com เพื่อรับไฟล์ประชาสัมพันธ์ได้ทันที

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • Always Active

บันทึก